

 |
|



 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลขาณุวรลักษบุรี ได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบลตามพระราช บัญญัติการปลี่ยน แปลงฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 บัญญัติให้สุขาภิบาลทุกแห่งมีฐานะเป็นเทศบาล ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 สุขาภิบาลขาณุวรลักษบุรีจึงมี
ฐานะเป็นเทศบาลตำบลขาณุวรลักษบุรี นับแต่นั้นเป็นต้นมา |
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลขาณุวรลักษบุรี อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอขาณุวรลักษบุรี ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชรมาทางทิศใต้ ห่างจากตัวอำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร ตามทางหลวงหมายเลข 1084 ตอนกำแพงเพชร - ขาณุวรลักษบุรี รวมระยะทางประมาณ 68 กิโลเมตร มีพื้นที่ 11.64 ตารางกิโลเมต |
|
|
|
|
|
ความหมายของตราสัญลักษณ์ "ความมั่นคง ความเข้ม แข็ง ความสามัคคีรวมพลังเป็นปึกแผ่น เปรียบเสมือนเพชรที่มี ความแข็งแกร่ง แต่ฉายแววประกายสดใสและทรงคุณค่า" |
|
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
อบต.ยางสูง ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิง และพื้นที่
อบต.เกาะตาล ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิง |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
อบต.ป่าพุทรา ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปิง และพื้นที่ อบต.แสนตอ ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิง |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
อบต.ป่าพุทรา |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
อบต.แสนตอ |
|
|
|
    |
|
|
|
|
พื้นที่เทศบาลตำบลขาณุวรลักษบุรี มีลักษณะเป็น 2 ฝั่ง มีแม่น้ำปิงไหลผ่านผ่ากลาง |

 |
พื้นที่ฝั่งตำบลแสนตอ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร เนื่องจากสภาพดินดี และมีน้ำจากแม่น้ำปิงไหลผ่าน ทำให้มีน้ำใช้เพียงพอแก่การเพาะปลูกตลอดปี ซึ่งผลผลิตที่สำคัญคือ ข้าว อ้อย มัน และเป็นที่ตั้งของส่วนราชการ เช่น ที่ว่าการอำเภอขาณุวรลักษบุรี โรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี สถานีตำรวจภูธรขาณุวรลักษบุรี โรงเรียนอนุบาลขาณุวรลักษบุรี และส่วนราชการอื่นๆ |

 |
พื้นที่ฝั่งป่าพุทรา พาณิชยกรรม/การบริการ ประชาชนประกอบอาชีพค้าขายผลผลิตทางการเกษตร ทั้งในรูปแบบการค้าปลีกและค้าส่งรวมกัน มีศูนย์กลางอยู่ที่ตลาดตาซ่วน ซึ่งเป็นพื้นที่แหล่งเศรษฐกิจ |
|
|
|
|
|
|
พื้นที่เทศบาลตำบลขาณุวรลักษบุรี มีลักษณะเป็น 2 ฝั่ง มีแม่น้ำปิงไหลผ่านผ่ากลาง |

 |
ฤดูร้อน อากาศร้อนถึงร้อนจัด ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง กลางเดือนพฤษภาคม |

 |
ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนตุลาคม ถึง เดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีแม่น้ำปิงไหลผ่านตลอดทั้งปี จึงทำให้ทับถมของตะกอน พื้นดินส่วนใหญ่เป็น ดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์สูง เหมาะแก่การทำการเกษตร ประชากรส่วนใหญ่จึงมีอาชีพทำการเกษตร ซึ่งผลผลิตที่สำคัญคือ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ส้ม เป็นต้นดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์แร่ธาตุ เหมาะกับการทำการเกษตรเกษตร ปลูกผลไม้ |
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 7,959 คนแยกเป็น |

 |
ชาย 3,848 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.35 |

 |
หญิง 4,111 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.65 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,561 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 683.76 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
|
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
ตำบลป่าพุทรา |
|
 |
1 |
|
145 |
155 |
300 |
68 |
 |
|
2 |
|
456 |
456 |
912 |
294 |
|
 |
3 |
|
468 |
521 |
989 |
407 |
 |
|
10 |
|
154 |
194 |
348 |
102 |
|
 |
12 |
|
403 |
452 |
855 |
332 |
 |
|
ตำบลยางสูง |
|
 |
1 |
|
393 |
413 |
806 |
205 |
 |
|
ตำบลแสนตอ |
|
 |
1 |
|
262 |
270 |
532 |
153 |
 |
|
2 |
|
573 |
613 |
1,186 |
491 |
|
 |
2 |
|
412 |
453 |
865 |
220 |
 |
|
3 |
|
305 |
297 |
602 |
157 |
|
 |
4 |
|
66 |
60 |
126 |
32 |
 |
|
5 |
|
211 |
227 |
438 |
100 |
|
 |
|
รวมทั้งสิ้น |
3,848 |
4,111 |
7,959 |
2,561 |
 |
|
|
จำนวนประชากร ณ เดือน ตุลาคม 2559 |
|
 |
|
|
|
|
|
|